วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

creativity

By Charles W. Prather, Ph.D.
Think back over your career to the work situation that provided the most satisfying working environment for you (hopefully it is your current job).  Now, contrast that one to the opposite - the one that provided the least satisfying working environment.  You are probably instantly able to see that your personal enthusiasm and the level of your innovativeness paralleled the work environment. What dimensions of the environment do you think were most important?  If you wanted to improve the environment for innovation, what specifically would you do?  Leaders struggle with these questions.
โดยชาร์ลดับบลิว Prather, Ph.D.
คิดกลับไปประกอบอาชีพกับสถานการณ์การทำงานที่ให้สภาพแวดล้อมการทำงานที่น่าพอใจมากที่สุดสำหรับคุณ (หวังว่ามันเป็นงานที่ทำปัจจุบันของคุณ) ตอนนี้ความคมชัดที่หนึ่งไปยังที่อยู่ตรงข้าม -- หนึ่งที่ให้ความพึงพอใจสภาพแวดล้อมการทำงานอย่างน้อย คุณอาจจะสามารถมองเห็นได้ทันทีที่ความกระตือรือร้นส่วนตัวของคุณและระดับการสร้างนวัตกรรมของคุณขนานสภาพแวดล้อมการทำงาน มิติของสภาพแวดล้อมอะไรคุณคิดว่ามีความสำคัญมากที่สุด ถ้าคุณต้องการที่จะปรับปรุงสภาพแวดล้อมการสร้างนวัตกรรมใหม่, สิ่งที่เฉพาะคุณจะทำอะไร ผู้นำการต่อสู้กับคำถามเหล่านี้

วันจันทร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2553

หลักธรรมาภิบาล มีองค์ประกอบที่สำคัญ 6 ประการดังนี้
1. หลักนิติธรรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับและกติกาต่าง ให้ทันสมัย
และเป็นธรรม ตลอดจนเป็นที่ยอมรับของสังคมและสมาชิก โดยมีการยินยอมพร้อมใจและถือ
ปฏิบัติร่วมกันอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม กล่าวโดยสรุป คือ สถาปนาการปกครองภายใต้
กฎหมาย มิใช่กระทำกันตามอำเภอใจหรืออำนาจของบุคคล
2. หลักคุณธรรม คือ การยึดถือและเชื่อมั่นในความถูกต้องดีงาม โดยการรณรงค์เพื่อสร้าง
ค่านิยมที่ดีงามให้ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรหรือสมาชิกของสังคมถือปฏิบัติ ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต
ความเสียสละ ความอดทนขยันหมั่นเพียร ความมีระเบียบวินัย เป็นต้น
3. หลักความโปร่งใส คือ การทำให้สังคมไทยเป็นสังคมที่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่าง
ตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้โดยการปรับปรุงระบบและกลไกการทำงาน
ขององค์กรให้มีความโปร่งใสมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารหรือเปิดให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสารได้สะดวก ตลอดจนมีระบบหรือกระบวนการตรวจสอบและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ
ซึ่งจะเป็นการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และช่วยให้การทำงานของภาครัฐและภาคเอกชน
ปลอดจากการทุจริตคอรัปชั่น
4. หลักความมีส่วนร่วม คือ การทำให้สังคมไทยเป็นสังคมที่ประชาชนมีส่วนร่วม
รับรู้ และร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจสำคัญ ของสังคม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนมี
ช่องทางในการเข้ามามีส่วนร่วม ได้แก่ การแจ้งความเห็น การไต่สวน สาธารณะ การประชาพิจารณ์
การแสดงประชามติ หรืออื่น และขจัดการผูกขาดทั้งโดยภาครัฐหรือโดยภาคธุรกิจเอกชน ซึ่งจะ
ช่วยให้เกิดความสามัคคีและความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน
5. หลักความรับผิดชอบ ผู้บริหาร ตลอดจนคณะข้าราชการ ทั้งฝ่ายการเมืองและข้าราชการ
ประจำ ต้องตั้งใจปฏิบัติภารกิจตามหน้าที่อย่างดียิ่ง โดยมุ่งให้บริการแก่ผู้มารับบริการ เพื่ออำนวย
ความสะดวกต่าง มีความรับผิดชอบต่อความบกพร่องในหน้าที่การงานที่ตนรับผิดชอบอยู่ และ
พร้อมที่จะปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที

แนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงจัดการเรียนการสอน

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมาและถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
  เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ทางสายกลาง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทำ  ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียรมีสติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อ               เศรษฐกิจพอเพียงกับการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ คือ อย่างแรก ต้องคำนึงถึงเรื่องการศึกษาเป็นสำคัญเพราะการศึกษาเป็นกุญแจนำไปสู่การเรียน รู้  2. คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้  3.  การได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ  สภาพแวดล้อม  สังคม  และโดยเฉพาะ ครอบครัวและตัวผู้ใช้เอง  4. การรู้จักใช้เทคโนโลยีนั้นให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดและตามความจำเป็น จะเห็นว่าเศรษฐกิจพอเพียงสามารถจะนำไปประยุกต์ได้กับทุกสาขาอาชีพ   ทุกสภาพการณ์   ทุกชีวิตของคนเรา ตั้งทั้งนี้ทั้งนั้น คุณธรรมจริยธรรมเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้เช่นกันมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุสังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี